kku

kku

วันพฤหัสบดีที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2558

Present project 4 and project 5


รูปภาพ







วิดิโอ






ได้รับการเสนอแนะจากอาจารย์ว่า  รูปภาพสวยดี มีลายชัดเจน  วิดิโอมีการใช้มุมกล้องที่หลายหลาย
มีความสวยงาม  แต่อาจจะดูไม่รู้เรื่องว่าจะสื่อถึงเรื่องอะไร

เดินทางไปถ่ายทำวิดิโอที่โลตัสเอ็กตร้า



วันพุธที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2558

ออกถ่ายรูป

เนื่องจากผู้เขียนเป็นช่างกล้องเลยไม่มีภาพ  หุหุ






project photograph

.การถ่ายภาพ.

แบ่งกันถ่ายภาพ เก็บภาพหลายๆมุม ให้ได้มากที่สุด 
"โดยวิธีการให้สังเกตพื้นที่ที่คุณเลือก ให้ถามตัวเองว่าคุณสังเกตเห็นอะไรจากภาพ
 จากสถานที่นั้น? อะไรที่ทำให้สถานที่แห่งนั้นมีเอกลักษณ์ เป็นหนึ่งเดียว ไม่ซ้ำใคร 
และคุณมองเห็น Shape หรือ Line อะไร จากภาพนั้น หรือสถานที่แห่งนั้นคุณมองเห็นความขัดแย้งที่เด่นชัดอะไรบ้าง กลุ่มก็จะได้ Concept ออกมา "


ทำภาพ Diptychs

Diptychs อย่าง ละเอียดและทำให้สมบูรณ์กลุ่มละ 3 ชิ้น 
(Template หมายถึง นำภาพที่ได้ใน STEP1 นำมาแก้ไข ปรับแต่งสีให้สวยงาม 
ตาม Concept ของการตกแต่งภาพแบบ Diptychs Diptychs 
เป็นรูปคู่2 รูปที่ทำให้กลายเป็น
ภาพหนึ่งภาพและมักจะมีจุดประสงค์ให้ความหมายของภาพเปลี่ยนไป) 



E-Book

ในขั้นแรกกลุ่มของกระผมได้เลือกใช้โปรแกรม



แต่ต่อมา  เราได้เจอกับโปรแกรมใหม่ซึ่งทันสมัยและมีความสวยงามมากว่า นั่นคือ




ได้ออกแบบปกในรูปแบบต่างๆ



 รูปแบบที่  1


                                                                     รูปแบบที่  2



และได้เลือก  รูปแบบที่  2  เป็นหน้าปก



ในส่วนของเนื้อหาภายในบางส่วน






เมื่อได้รับการแสดงความคิดเห็นจากเพื่อนๆและอาจารย์ ทางกลุ่มก็ได้ปรับปรุงและเพิ่มลักษณะพิเศษเข้าไป

มีการใช้ลิงค์ในการข้ามหน้า  ใส่เพลง และวิดิโอ







วันอาทิตย์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2558

แก้ไข E-Newsletter



เมื่อได้รับคำติชมจากอาจารย์และเพื่อนๆ  ก็ได้นำไปปรับปรุง E-Newsletter ในรูปแบบใหม่  ดังรูป



ได้เพิ่มหน้าเพิ่มเติมอีก 1  หน้า


ออกแบบ E-newsletter




รูปแบบที่  1



รูปแบบที่  2


รูปแบบที่  3


ฉบับสมบูรณ์ พร้อมนำเสนอ

วันพุธที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

ประชุมงานเริ่มหาเป้าหมายของการทำ e newslater ของกลุ่ม

ประเด็นปัญหา คือ  การเรียนการสอนในปัจจุบัน  ดูน่าเบื่อเกินไป  ทำให้นักเรียนไม่เกิดแรงจูงใจที่จะเรียนรู้

ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง  :  คือครูผู้สอนและนักเรียน

สถานที่ที่เกี่ยวข้อง  :  ห้องเรียน

ช่วงเวลา  :  ในคาบการเรียนการสอน

สาเหตุของปัญหา  คือ  การสอนของครูในปัจจุบันเน้นการบรรยายมากเกินไป  ทำให้ผู้เรียนอยู่เฉพาะในกรอบที่ครูคิดไว้ให้
ไม่สามารถจินตนาการหรือคิดอะไรใหม่ๆกับเนื้อหาวิชานั้นๆและอาจจะเกิดการเบื่อได้เพราะได้ทำอะไรเดิมๆเกือบทุกคาบ

แนวทางการแก้ไขปัญหา  คือ  อยากให้เปิดมุมมองรูปแบบการศึกษาเป็นการเรียนแบบตามอัธยาศัย
เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ได้ด้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส
สามารถศึกษาได้จากบุคคล สภาพแวดล้อม สื่อหรือแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ
การศึกษาแบบนี้มีความยืดหยุ่น  เปิดโอกาสให้ผู้สนใจสามารถเลือกเนื้อหาที่สนใจตรงกับความต้องการของ
ตนเองและสามารถศึกษาในเวลาที่ปลอดจากภารกิจอื่นได้  เช่น การฟังบรรยายพิเศษ การศึกษาจากเอกสาร
การเยี่ยมชมการสาธิต การสืบค้นข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตหรือแหล่งเรียนรู้อื่นๆ

วันพุธที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

พรีเซนต์ผลงานกลุ่ม

PRESENT  OUR FIRST PROJECT

Concept  :  การศึกษาไทยคือการลงทุนที่ขาดทุน



จากผลงานที่กลุ่มของกระผมได้ช่วยกันทำออกมา  ได้รับคำชมจากอาจารย์ว่าเป็นเนื้อหาที่น่าสนใจ
มองภาพออกง่าย  แต่ยังขาดความชัดเจนในด้านตัวละครที่จะสื่อออกมาให้เห็นถึงความล้มเหลวของนักเรียน  ซึ่งทางกลุ่มของกระผมก็จะนำไปปรับปรุงทำการแก้ไขให้ออกมาดีที่สุดต่อไป

สัปดาห์ที่สองของการเรียน


ทางกระผมได้ประชุมกันกับเพื่อนกับแนวทางการทำโปสเตอร์  แล้วก็ได้แบบที่ช่วยกันโหวตออกมา
เป็นแนวคิดที่เกี่ยวกับประเทศไทยที่ลงทุนเม็ดเงินมหาศาลลงไปกับการศึกษาแต่ผลที่ได้คือ
นักเรียนมีปัญหา  เรียนไม่เข้าใจ  และออกนอกไปในเส้นทางที่ไม่ดี  ทำให้การประเมินการศึกษา
ของประเทศไทยยังตกต่ำอยู่






กระผมได้รับมอบหมายในการวาดตัวการ์ตูนนักเรียนที่เรียนไม่เข้าใจ โดยใช้โปรแกรม
Adobe  lllustrator  cs6  แล้วส่งต่อให้เพื่อนในกลุ่ม  นำไปใช้ประกอบในโปสเตอร์ต่อไป

วันจันทร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2558

รายวิชาการออกแบบและผลิตสื่อดิจิทัลทางการศึกษา




อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม  กลุ่มละ 4  คน

และมี  Project ในรายวิชาการออกแบบและผลิตสื่อดิจิทัลทางการศึกษา  
ประจำภาคเรียนที่2  ปีการศึกษา  2557
โดยแต่ละงานมีคะแนนงานละ  20  คะแนน  ประกอบไปด้วย

 Project1 - Poster (21/01/58-04/02/58)
 Project2 - E-newsletter (04/02/58-25/02/58)
 Project3 - E-book (25/02/58-18/03/58)
 Project4 - Video (18/03/58-08/04/58)
 Project5 - Blog (21/01/58-22/04/58)